เป็นการกำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการหาคำตอบหรือวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ ซึ่งมีขั้นตอนหลักในการวิเคราะห์ปัญหาดังนี้
วันอังคารที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2557
บทที่ 9 การวิเคราะห์ข้อมูลแรสเตอร์
เป็นการกำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการหาคำตอบหรือวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ ซึ่งมีขั้นตอนหลักในการวิเคราะห์ปัญหาดังนี้
บทที่ 2 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
สามารถทำงานกับข้อมูลประเภท Shapefiles , Coverages และ Geodatabase เมื่อตารางเชื่อมต่อกันแล้วสามารถใช้สอบถามข้อมูล ให้สัญลักษณ์และวิเคราะห์ข้อมูลภายใต้ตารางที่เชื่อมกันแล้วได้ คำสั่ง Join ออกแบบมาสำหรับใช้งานกับความสัมพันธ์ระหว่างตารางแบบ One – to – One หรือ Many – to – One หากใช้กับตารางความสัมพันธ์แบบอื่น จะทำให้การเชื่อมตารางนั้นเกิดข้อผิดพลาดเพราะข้อมูลบางเรคอร์ดจะขาดหายไป การเชื่อมตารางนั้นชื่อของฟิลด์ที่นำมาเป็นสื่อในการเชื่อมไม่จำเป็นต้องชื่อเดียวกัน หากแต่จะต้องเป็นฟิลด์ประเภทเดียวกัน แล้วยังเป็นการเชื่อมชั่วคราวไม่ถาวรและเมื่อเชื่อมกันแล้วชื่อของฟิลด์ที่ปรากฏจะเปลี่ยนไป โดยจะนำหน้าและเครื่องหมายจุดตามด้วยชื่อฟิลด์
วันจันทร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2557
บทที่ 1 การแก้ไขข้อมูล (Editing Feature)
การกำหนด Snapping Properties
ควบคุมการแก้ไขส่วนที่เชื่อมต่อกัน โดยกำหนดส่วนของข้อมูลที่จะเชื่อมต่อใหม่นี้ให้ Snap กับส่วนใดของข้อมูลเดิม คุณสมบัติการ Snap ของชั้นข้อมูลสามารถกำหนด Snap ภายในชั้นข้อมูลเดียวกัน
ควบคุมการแก้ไขส่วนที่เชื่อมต่อกัน โดยกำหนดส่วนของข้อมูลที่จะเชื่อมต่อใหม่นี้ให้ Snap กับส่วนใดของข้อมูลเดิม คุณสมบัติการ Snap ของชั้นข้อมูลสามารถกำหนด Snap ภายในชั้นข้อมูลเดียวกัน
วันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2557
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเวกเตอร์
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลเวกเตอร์
โดยนำข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์มาวิเคราะห์ด้วยคำสั่งซ้อนทับอย่างง่าย ซึ่งเป็นการประกวดความรู้พื้นฐานเพื่อการวิเคราะห์
แนวทางในการดำเนินงานมีขั้นตอนหลักสำหรับการวิเคราะห์ปัญหา ดังนี้
บทที่ 7 การวิเคราะห์แบบจำลองทางอุทกศาสตร์ (Hydrology Model Analysis)
การวิเคราะห์ทางอุทกศาสตร์จะดำเนินการโดยใช้ชุดเครื่องมือในคำสั่งเสริม Spatial
Analyst Extension ในชุดเครื่องนี้ใช้สร้างแบบจำลองการไหลของน้ำบนพื้นผิว ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ท้าให้ทราบว่าทิศทางการไหลของน้ำและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
สามารถน้าไปใช้ประโยชน์ในหลายด้าน อาทิ การวางแผนการจัดการน้ำ การเกษตรกรรม
และ ป่าไม้ โดยธรรมชาติ น้ำจะไหลจากที่สูงลงมาที่ต่ำและจะไหลไปยังจุดออก
(หรือเซลล์) ที่กำหนดไว้
วันศุกร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2557
บทที่ 6 การวิเคราะห์พื้นผิว ( Surface analysis )
เป็นการวิเคราะห์การกระจายของค่าตัวแปรซึ่งเปรียบเสมือนเป็นมิติที่
3 ของข้อมูลเชิงพื้นที่ โดยข้อมูลที่มีค่าพิกัดตามแนวแกน X และ Y ส่วนแปรที่นำมาวิเคราะห์เป็นค่า Z ที่มีการกระจายตัวครอบคลุมทั้งพื้นที่
วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2557
บทที่ 5 การประมาณค่าในช่วง (Interpolation)
การประมาณค่าช่วงเป็นการคาดการณ์ค่าให้กับเซลล์ในข้อมูลประเภทแรสเตอร์
จากข้อมูลจุดตัวอย่างที่มีอยู่อย่างจำกัด ด้วยวิธีการนี้สามารถใช้ในการพยากรณ์ค่าที่ไม่ทราบจากจุดใดๆ
ทางภูมิศาสตร์ได้ ไม่ว่าจะเป็นจุดความสูง ปริมาณน้ำฝน การกระจายตัวของสารเคมี
ระดับเสียงรบกวน และอื่นๆ
วันพุธที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2557
บทที่ 3 การจัดการมาตราส่วนแผนที่ ( Map scale)
การจัดการมาตราส่วนแผนที่ ( Map scale)
มาตราส่วนจะบอกให้ทราบว่า 1 หน่วยบนแผนที่เท่ากับค่าที่อยู่ในช่องนี้ซึ่งเป็นหน่วยบนพื้นผิวโลก สามารถเปลี่ยนได้ โดยการคีย์ค่ามาตราส่วนที่ต้องการลงในช่อง
มาตราส่วนจะบอกให้ทราบว่า 1 หน่วยบนแผนที่เท่ากับค่าที่อยู่ในช่องนี้ซึ่งเป็นหน่วยบนพื้นผิวโลก สามารถเปลี่ยนได้ โดยการคีย์ค่ามาตราส่วนที่ต้องการลงในช่อง
วันอังคารที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557
บทที่ 4 การสอบถามข้อมูล
การแสดงเฉพาะข้อมูลที่เลือกโดยใช้หน้าต่าง Query
Definition
- นำเข้าข้อมูล Amphoe.shp จาก C:\RTArcGIS\Kanchaburi\kanburi\Amphoe ลากชั้นข้อมูลออกมา
- คลิกขวาของชั้นข้อมูลเลือกProperties จะขึ้นหน้าต่างLayer Properties ให้เลือกหน้าต่าง Definition Query
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)